ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

วิธีเรียกสัญลักษณ์ต่างๆ ที่เราพบบ่อย

วันนี้มีวิธีเรียกสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่เราพบเห็นกันบ่อย ๆ มาฝากค่ะ

1. เครื่องหมายจุลภาค (เครื่องหมาย , ) : Comma

ใช้สำหรับคั่นตัวเลขจำนวนมาก ช่วงละ 3 ตัวเลข และใช้คั่นข้อความที่ระบุรายการต่าง ๆ

2. เครื่องหมายทวิภาค (เครื่องหมาย : ) : Colon

ใช้สำหรับคั่นข้อความหลักกับส่วนที่มาขยาย ส่วนที่ขยายจะอยู่ด้านหลังเครื่องหมาย ใช้แสดงมาตราส่วน เช่น 1:3 และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13:30

3. เครื่องหมายมหัพภาค (เครื่องหมาย . ) : Period

Full Stop

ใช้สำหรับจบข้อความ ใช้เขียนหลังตัวอักษรย่อ และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13.30

4. เครื่องหมายอัฐภาค (เครื่องหมาย ; ) : Semicolon

4.1 ใช้เชื่อมประโยคสองประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง แต่แทนที่เราจะใช้บุพบทเช่น and หรือ but เชื่อม เราสามารถใช้ Semicolon คั่นแทน เช่น Twelve workers started the project; only five remain. This could be a complete sentence; this could be another one. กรณีที่คุณใช้ and คุณจะต้องใช้เครื่องหมาย Comma คั่นก่อน and และไม่ต้องใช้ Semicolon

4.2 ใช้แทนเครื่องหมาย Comma กรณีที่คำที่ต้องการคั่นมีเครื่องหมาย Comma อยู่แล้ว เช่น

ตัวอย่าง We visited Pago Pago, Western Samoa; Curitiba, Brazil; and St. George, Utah.

(Pago Pago อยู่ที่ Western Samoa Curitiba อยู่ที่ Brazil ส่วน St. George อยู่ที่ Utah ในการไปครั้งนี้เราไปสามที่ แต่ว่าอธิบายต่อด้วยว่าแต่ละที่อยู่ประเทศอะไร ดังนั้น วิธีการเขียนคือใช้ Comma คั่นระหว่างขอบเขตที่เล็กกว่าเช่น เมือง กับขอบเขตที่ใหญ่กว่า เช่น ประเทศ ซึ่งจะอยู่ข้างหลัง Comma ซึ่งพอใช้ Comma อธิบายคู่ของเมืองกับประเทศไปแล้ว จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละคู่นั้นอีกทีหนึ่ง)

ตัวอย่าง The trio’s birthdays are November 10, 1946; December 7, 1947; and October 31, 1950.

(เช่นเดียวกับตัวอย่างด้านบน แต่คราวนี้เป็นการอธิบายชุดของวันเกิด 3 ชุด ซึ่งบอกวันเดือนปีเกิด ซึ่งประกอบด้วย Comma จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละชุดอีกที)

ตัวอย่าง Her favorite players are Steve Young, a quarterback; Jason Buck, a defensive end; and Ty Detmer, another quarterback.

(ประโยคนี้ เป็นการอธิบายตำแหน่งของผู้เล่นแต่ละคนซึ่งใช้เครื่องหมาย Comma ไปแล้ว จึงใช้ Semi-colon สำหรับคั่นคู่ของชื่อกับตำแหน่งอีกทีหนึ่ง)

5. เครื่องหมายอัญประกาศ (” ” หรือ ‘ ‘) : Quotation Marks


6. เครื่องหมายนขลิขิตหรือวงเล็บ ( ) : Parentheses หรือ Round Brackets

7. เครื่องหมายวงเล็บปีกกา [ ] : Square Brackets

8. เครื่องหมาย { } : Curly Bracket

9. เครื่องหมายขีดกลาง – : Dash หรือ Hyphen

10. เครื่องหมายทับ / : Slash หรือ Forward Slash หรือ Stroke หากเป็นเครื่องหมายทับแบบย้อนกลับ (\) : เรียก Backward Slash หรือ Backslash


11. เครื่องหมาย & : Ampersand

12 เครื่องหมาย @ : At Sign

13 เครื่องหมายดอกจัน * : Asterisk (อ่านว่า ‘as-tu,risk)

14. เครื่องหมาย : Bullet (อ่านว่า bu-lit)

15. เครื่องหมาย ‘ : Apostrophe (อ่านว่า u’pos-tru-fee)

16. เครื่องหมาย ! : Exclamation mark

17. เครื่องหมาย ? : Question mark

18. เครื่องหมายเว้นวรรค : Space

19. เครื่องหมาย : Tilde (อ่านว่า ทิลเดอ)

20. เครื่องหมาย _ : Underscore

21. เครื่องหมาย : Therefore sign

22. เครื่องหมาย : Because sign

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Brainstorming >>> ระดมสมอง

   ก ารระดมสมอง (Brainstorming) การระดมสมองเป็นเทคนิคที่สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา โดยไม่มีการประเมินว่าความคิดเห็นของใครว่าดีหรือไม่ดี ความคิดเห็นของทุกคนจะถูกรวบรวม และนำเสนอให้สมาชิกทุกคนได้ทราบ พร้อมทั้งสนับสนุนให้สมาชิกเสนอความคิดเห็นต่อเติมหรือเสริมของกันและกันได้ การระดมสมองถือว่าเป็นวิธีแรกที่เป็นเครื่องมือที่ลดการขัดขวาง และสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก โดยการไม่มีการประเมินความคิดเห็นที่แสดงของ สมาชิก ลดการมีอิทธิพลของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง โดยการมีวิธีสนับสนุนให้สมาชิกทุกคนได้มี โอกาสตอบให้ความคิดเห็นของสมาชิกคนอื่นอย่างสั้น ๆ นอกจากนั้นยังส่งเสริมการสร้างสรรค์ความคิดเห็นและบรรยากาศของการยอมรับสำหรับความคิดเห็นทุกชนิด การระดมสมองเป็น ส่วนหนึ่งที่จะสร้างความสำเร็จได้ ในการที่จะปรับปรุงการแสดงความคิดเห็น โดยการเปรียบเทียบกับการแก้ปัญหาโดยกลุ่ม ในลักษณะธรรมดาทั่ว ๆ ไป อย่างไร

การสนทนากลุ่ม (Focus group)

การสนทนากลุ่ม   ( Focus Group)   ความเป็นมา   การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ได้มีการพัฒนาขึ้นครั้งแรกระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) โดยนำมาใช้ในการประเมินประสิทธิผลของรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศในช่วงนั้น พอสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1946 ได้มีการนำมาใช้ในกลุ่มที่ทำงานทางด้านสังคมศาสตร์ (Social Sciences) มีลักษณะเป็นการสนทนาถกแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่มีการกำหนดหัวข้อเฉพาะบางประเด็นของผู้จัด (Organizer) โดยกลุ่มคนที่เข้าร่วมประมาณ 8-10 คน ซึ่งเรียกว่า เป็น Participants หรือ Respondents โดย ผู้ที่จะเข้าร่วมการทำ Focus group จะได้รับการคัดเลือก (Screen) ตามเงื่อนไขมาอย่างดี (กรมการพัฒนาชุมชน, ม.ป.ป. เว็บไซต์) ความหมายของการสนทนากลุ่ม   สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สำนักงาน สกว.] (2551. เว็บไซต์) ได้ให้ความหมายของการสนทนากลุ่มไว้ว่า การสนทนากลุ่ม หมายถึงการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือ

โรงเรียนในฝัน...โรงเรียนของหนู จริงหรือ

  หลายท่าน..คงสงสัย โรงเรียนในฝันมันคืออะไร....ซึงผู้ใหญ่หลายท่าน... (รวมทั้งผม) ยังไม่เข้าใจในความคิดรวบยอด หากเรามองดู.. โรงเรียนในฝันใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ(พะกิตตามที่เราเข้าใจ) ว่า Lab School ถ้าแปลความหมาย.. Lab คือ ห้องปฎิบัติการ (ที่มา..google เมนู แปลภาษา) School คือ โรงเรียน (ที่มา..google เมนู แปลภาษา) ถ้ารวมกันคงไม่ต้องอธิบาย เพราะท่านน่าจะทราบดีอยู่แล้ว...   การดำเนินการง่ายๆ คือ มีคณะกรรมการตรวจเยี่ยม ซึ่งในที่นี้จะขอใช้คำว่า คณะกรรมการ เข้าไปเยี่ยมเพื่อดูความพร้อมของโรงเรียนในการใช้ห้องปฏิบัติที่ให้นักเรียนใช้ห้องได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล....     นักเรียนเกิดทักษะ กระบวนการ ความรู้ เจตคติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์  ตามที่หลักสูตรกำหนดไว้หรือไม่ ผู้บริหารหลายท่าน.....  ครูหลายคน..... นักการศึกษาอีกมากมาย...... รวมทั้งศึกษานิเทศก์.... ยังมองภาพการดำเนินงานไม่ออก มองเป็นประเด็นทางด้านการเมือง.........(ซึ่งอันนี้แล้วแต่...เขาจะลากไป (เขาในที่นี้ขออนุญาตไม่เอ่่ย...ครับ) แต่แท้ที่จริงแล้ว...หลังจากเข้าร่วมในภารกิจตรวจเยี่ยม.... คือทำ