ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

มาสร้างภาพ.........กันครับ

วันนี้...พอดีมีเวลาว่าง ทั้งที่ยังมีงานอีกหลายเรื่องที่ยังไม่เสร็จ ขอวางไว้ก่อน
จึงนำเรื่องการสร้างภาพ..แบบง่ายๆด้วย โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint มานำเสนอครับ
สำหรับทุกท่านที่สนใจ...และสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้นะครับ

ขั้นแรกเลย เปิดใช้งานโปรแกรม...ครับ

 
จากนั้นเลือก เมนูออกแบบ กำหนดค่าที่จะแทรกภาพ ถ้าถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล ปัจจุบันต้องตั้งค่าเฟรมเป็น 29  และ 19 ครับ เพื่อให้ภาพยังคงเป็นภาพต้นฉบับ ไม่มีการย่อ/ขยายภาพ ให้ได้ภาพตามสมส่วน
 

 
 
ตั้งค่าเฟรมเรียบร้อย...ก็หาไฟล์ภาพนำเข้ามาครับ....ตามที่อยู่ของภาพที่ท่านมี
 
 
นำภาพเข้ามาเรียบร้อย

 

 
 
เลือกเมนูแทรก เลือกกล่องข้อความ เขียนข้อความตามที่เราต้องการครับ....
 
 
ปรับแต่งข้อความตามใจชอบครับ....เน้นการจัดวาง เน้นสี เน้นรูปแบบ เน้นขนาดอักษร และอื่นๆ อยู่ที่ท่านครับ
 
 
 
จัดรูปแบบทุกอย่างเป็นที่พอใจแล้ว.....เลือกการบันทึกครับ  เลือกบันทึกรูปแบบอื่นๆ......ตามภาพนะครับ
 

 
พอเจอบันทึกรูปแบบอื่นๆ แล้ว...ให้เลือกไฟล์ที่จะบันทึกขอให้เลือกเป็นนามสกุลรูปภาพครับ...มี GIF และ JPEG ก็เลือกตามใจชอบนะครับ   แต่ว่าขอแนะนำให้ใช้ JPEG ดีกว่า...
 

 
เลือกไดร์ โฟลเดอร์ ที่จะบันทึก  ตั้งชื่อภาพ.......กดบันทึก เป็นการเรียบร้อย

 
 
สักพักโปรแกรมจะถามว่า จะบันทึกทุกเฟรม หรือว่าเฟรมที่เราต้องการเท่านั้น....อันนี้แล้วแต่ท่านนะครับ ถ้าท่านต้องการทุกเฟรมก็กดทุกภาพนิ่ง  หรือว่าเฉพาะภาพนิ่งใดภาพนิ่งหนึ่งก็สามารถเลือกได้ครับ..
 
 
เลือกเปิดไดร์ โฟลเดอร์ ไฟล์ ที่เราเลือกบันทึกดูนะครับ ว่าได้รูปภาพดังที่เราตั้งการมั้ย ...........
 
 
 
ลองทำดูนะครับ.....................มีตัวอย่างที่เราทำเมื่อกี้ครับ
 
 
คราวนี้ท่านก็สามารถนำภาพ...พร้อมภาพที่แทรกข้อความหรือข้อคิด...ของท่าน อับโหลดไปยัง Facebook หรือที่อื่นๆ ได้ตามใจครับ ลองทำดูนะครับ.....สวัสดีครับ
------------------------------------------------------------
 

------------------------------------------------------------



ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การสนทนากลุ่ม (Focus group)

การสนทนากลุ่ม   ( Focus Group)   ความเป็นมา   การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ได้มีการพัฒนาขึ้นครั้งแรกระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) โดยนำมาใช้ในการประเมินประสิทธิผลของรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศในช่วงนั้น พอสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1946 ได้มีการนำมาใช้ในกลุ่มที่ทำงานทางด้านสังคมศาสตร์ (Social Sciences) มีลักษณะเป็นการสนทนาถกแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่มีการกำหนดหัวข้อเฉพาะบางประเด็นของผู้จัด (Organizer) โดยกลุ่มคนที่เข้าร่วมประมาณ 8-10 คน ซึ่งเรียกว่า เป็น Participants หรือ Respondents โดย ผู้ที่จะเข้าร่วมการทำ Focus group จะได้รับการคัดเลือก (Screen) ตามเงื่อนไขมาอย่างดี (กรมการพัฒนาชุมชน, ม.ป.ป. เว็บไซต์) ความหมายของการสนทนากลุ่ม   สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สำนักงาน สกว.] (2551. เว็บไซต์) ได้ให้ความหมายของการสนทนากลุ่มไว้ว่า การสนทนากลุ่ม หมายถึงการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือ

Brainstorming >>> ระดมสมอง

   ก ารระดมสมอง (Brainstorming) การระดมสมองเป็นเทคนิคที่สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา โดยไม่มีการประเมินว่าความคิดเห็นของใครว่าดีหรือไม่ดี ความคิดเห็นของทุกคนจะถูกรวบรวม และนำเสนอให้สมาชิกทุกคนได้ทราบ พร้อมทั้งสนับสนุนให้สมาชิกเสนอความคิดเห็นต่อเติมหรือเสริมของกันและกันได้ การระดมสมองถือว่าเป็นวิธีแรกที่เป็นเครื่องมือที่ลดการขัดขวาง และสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก โดยการไม่มีการประเมินความคิดเห็นที่แสดงของ สมาชิก ลดการมีอิทธิพลของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง โดยการมีวิธีสนับสนุนให้สมาชิกทุกคนได้มี โอกาสตอบให้ความคิดเห็นของสมาชิกคนอื่นอย่างสั้น ๆ นอกจากนั้นยังส่งเสริมการสร้างสรรค์ความคิดเห็นและบรรยากาศของการยอมรับสำหรับความคิดเห็นทุกชนิด การระดมสมองเป็น ส่วนหนึ่งที่จะสร้างความสำเร็จได้ ในการที่จะปรับปรุงการแสดงความคิดเห็น โดยการเปรียบเทียบกับการแก้ปัญหาโดยกลุ่ม ในลักษณะธรรมดาทั่ว ๆ ไป อย่างไร

อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐาน....ในปัจจุบัน

มาเปรียบเทียบอัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจอโทรทัศน์ จอคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงการแสดงผลแบบ HDTV ( High Definition Television ) ซึ่งการแสดงผลของภาพในปัจจุบันกำลังพัฒนาไปสู่การแสดงผลของภาพที่ให้ความคมชัดสูงมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อที่จะทำให้การแสดงผลของจอภาพรองรับมาตรฐานแบบ Full HD จากรูป..เป็นการเปรียบเทียบการแสดงผล สำหรับจอภาพ ตามมาตรฐานต่างๆ ที่เรารู้จัก... - Full HD (High Definition) 1920 x 1080 - HD (High Definition) 1280x720 - PC XGA (Extended Graphics Array) 1024x768 - SD (Standard Definition) PAL TV 768x576 - SD (Standard Definition) NTSC TV 720x480 - CIF (Common Intermediate Format) 352x288 - QCIF (Quarter Common Intermediate Format) 176x144        ซึ่งแต่ละระบบ มีความแตกต่างกันของขนาดภาพ มันเกี่ยวข้องกับการบันทึกภาพวิดีโอ หรือการนำไปตัดต่อภาพวิดีโอด้วย เช่น การส่งภาพข่าวของผู้สื่อข่าว บมจ.อสมท ในขณะนี้ใช้ขนาด 720x576 และกล้องวิดีโอที่ส่งมาให้ใช้งานตามภูมิภาค ปรับมาตรฐานของภาพที่บันทึกเป็น 720x576 นั่นเอง ซึ่งอยู่ในระบบ