วันนี้มีวิธีเรียกสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่เราพบเห็นกันบ่อย ๆ มาฝากค่ะ
1. เครื่องหมายจุลภาค (เครื่องหมาย , ) : Comma
ใช้สำหรับคั่นตัวเลขจำนวนมาก ช่วงละ 3 ตัวเลข และใช้คั่นข้อความที่ระบุรายการต่าง ๆ
2. เครื่องหมายทวิภาค (เครื่องหมาย : ) : Colon
ใช้สำหรับคั่นข้อความหลักกับส่วนที่มาขยาย ส่วนที่ขยายจะอยู่ด้านหลังเครื่องหมาย ใช้แสดงมาตราส่วน เช่น 1:3 และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13:30
3. เครื่องหมายมหัพภาค (เครื่องหมาย . ) : Period
Full Stop
ใช้สำหรับจบข้อความ ใช้เขียนหลังตัวอักษรย่อ และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13.30
4. เครื่องหมายอัฐภาค (เครื่องหมาย ; ) : Semicolon
4.1 ใช้เชื่อมประโยคสองประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง แต่แทนที่เราจะใช้บุพบทเช่น and หรือ but เชื่อม เราสามารถใช้ Semicolon คั่นแทน เช่น Twelve workers started the project; only five remain. This could be a complete sentence; this could be another one. กรณีที่คุณใช้ and คุณจะต้องใช้เครื่องหมาย Comma คั่นก่อน and และไม่ต้องใช้ Semicolon
4.2 ใช้แทนเครื่องหมาย Comma กรณีที่คำที่ต้องการคั่นมีเครื่องหมาย Comma อยู่แล้ว เช่น
ตัวอย่าง We visited Pago Pago, Western Samoa; Curitiba, Brazil; and St. George, Utah.
(Pago Pago อยู่ที่ Western Samoa Curitiba อยู่ที่ Brazil ส่วน St. George อยู่ที่ Utah ในการไปครั้งนี้เราไปสามที่ แต่ว่าอธิบายต่อด้วยว่าแต่ละที่อยู่ประเทศอะไร ดังนั้น วิธีการเขียนคือใช้ Comma คั่นระหว่างขอบเขตที่เล็กกว่าเช่น เมือง กับขอบเขตที่ใหญ่กว่า เช่น ประเทศ ซึ่งจะอยู่ข้างหลัง Comma ซึ่งพอใช้ Comma อธิบายคู่ของเมืองกับประเทศไปแล้ว จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละคู่นั้นอีกทีหนึ่ง)
ตัวอย่าง The trio’s birthdays are November 10, 1946; December 7, 1947; and October 31, 1950.
(เช่นเดียวกับตัวอย่างด้านบน แต่คราวนี้เป็นการอธิบายชุดของวันเกิด 3 ชุด ซึ่งบอกวันเดือนปีเกิด ซึ่งประกอบด้วย Comma จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละชุดอีกที)
ตัวอย่าง Her favorite players are Steve Young, a quarterback; Jason Buck, a defensive end; and Ty Detmer, another quarterback.
(ประโยคนี้ เป็นการอธิบายตำแหน่งของผู้เล่นแต่ละคนซึ่งใช้เครื่องหมาย Comma ไปแล้ว จึงใช้ Semi-colon สำหรับคั่นคู่ของชื่อกับตำแหน่งอีกทีหนึ่ง)
5. เครื่องหมายอัญประกาศ (” ” หรือ ‘ ‘) : Quotation Marks
6. เครื่องหมายนขลิขิตหรือวงเล็บ ( ) : Parentheses หรือ Round Brackets
7. เครื่องหมายวงเล็บปีกกา [ ] : Square Brackets
8. เครื่องหมาย { } : Curly Bracket
9. เครื่องหมายขีดกลาง – : Dash หรือ Hyphen
10. เครื่องหมายทับ / : Slash หรือ Forward Slash หรือ Stroke หากเป็นเครื่องหมายทับแบบย้อนกลับ (\) : เรียก Backward Slash หรือ Backslash
11. เครื่องหมาย & : Ampersand
12 เครื่องหมาย @ : At Sign
13 เครื่องหมายดอกจัน * : Asterisk (อ่านว่า ‘as-tu,risk)
14. เครื่องหมาย : Bullet (อ่านว่า bu-lit)
15. เครื่องหมาย ‘ : Apostrophe (อ่านว่า u’pos-tru-fee)
16. เครื่องหมาย ! : Exclamation mark
17. เครื่องหมาย ? : Question mark
18. เครื่องหมายเว้นวรรค : Space
19. เครื่องหมาย : Tilde (อ่านว่า ทิลเดอ)
20. เครื่องหมาย _ : Underscore
21. เครื่องหมาย : Therefore sign
22. เครื่องหมาย : Because sign
1. เครื่องหมายจุลภาค (เครื่องหมาย , ) : Comma
ใช้สำหรับคั่นตัวเลขจำนวนมาก ช่วงละ 3 ตัวเลข และใช้คั่นข้อความที่ระบุรายการต่าง ๆ
2. เครื่องหมายทวิภาค (เครื่องหมาย : ) : Colon
ใช้สำหรับคั่นข้อความหลักกับส่วนที่มาขยาย ส่วนที่ขยายจะอยู่ด้านหลังเครื่องหมาย ใช้แสดงมาตราส่วน เช่น 1:3 และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13:30
3. เครื่องหมายมหัพภาค (เครื่องหมาย . ) : Period
Full Stop
ใช้สำหรับจบข้อความ ใช้เขียนหลังตัวอักษรย่อ และใช้คั่นระหว่างตัวเลขชั่วโมงกับตัวเลขนาที เช่น 13.30
4. เครื่องหมายอัฐภาค (เครื่องหมาย ; ) : Semicolon
4.1 ใช้เชื่อมประโยคสองประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง แต่แทนที่เราจะใช้บุพบทเช่น and หรือ but เชื่อม เราสามารถใช้ Semicolon คั่นแทน เช่น Twelve workers started the project; only five remain. This could be a complete sentence; this could be another one. กรณีที่คุณใช้ and คุณจะต้องใช้เครื่องหมาย Comma คั่นก่อน and และไม่ต้องใช้ Semicolon
4.2 ใช้แทนเครื่องหมาย Comma กรณีที่คำที่ต้องการคั่นมีเครื่องหมาย Comma อยู่แล้ว เช่น
ตัวอย่าง We visited Pago Pago, Western Samoa; Curitiba, Brazil; and St. George, Utah.
(Pago Pago อยู่ที่ Western Samoa Curitiba อยู่ที่ Brazil ส่วน St. George อยู่ที่ Utah ในการไปครั้งนี้เราไปสามที่ แต่ว่าอธิบายต่อด้วยว่าแต่ละที่อยู่ประเทศอะไร ดังนั้น วิธีการเขียนคือใช้ Comma คั่นระหว่างขอบเขตที่เล็กกว่าเช่น เมือง กับขอบเขตที่ใหญ่กว่า เช่น ประเทศ ซึ่งจะอยู่ข้างหลัง Comma ซึ่งพอใช้ Comma อธิบายคู่ของเมืองกับประเทศไปแล้ว จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละคู่นั้นอีกทีหนึ่ง)
ตัวอย่าง The trio’s birthdays are November 10, 1946; December 7, 1947; and October 31, 1950.
(เช่นเดียวกับตัวอย่างด้านบน แต่คราวนี้เป็นการอธิบายชุดของวันเกิด 3 ชุด ซึ่งบอกวันเดือนปีเกิด ซึ่งประกอบด้วย Comma จึงใช้ Semicolon คั่นแต่ละชุดอีกที)
ตัวอย่าง Her favorite players are Steve Young, a quarterback; Jason Buck, a defensive end; and Ty Detmer, another quarterback.
(ประโยคนี้ เป็นการอธิบายตำแหน่งของผู้เล่นแต่ละคนซึ่งใช้เครื่องหมาย Comma ไปแล้ว จึงใช้ Semi-colon สำหรับคั่นคู่ของชื่อกับตำแหน่งอีกทีหนึ่ง)
5. เครื่องหมายอัญประกาศ (” ” หรือ ‘ ‘) : Quotation Marks
6. เครื่องหมายนขลิขิตหรือวงเล็บ ( ) : Parentheses หรือ Round Brackets
7. เครื่องหมายวงเล็บปีกกา [ ] : Square Brackets
8. เครื่องหมาย { } : Curly Bracket
9. เครื่องหมายขีดกลาง – : Dash หรือ Hyphen
10. เครื่องหมายทับ / : Slash หรือ Forward Slash หรือ Stroke หากเป็นเครื่องหมายทับแบบย้อนกลับ (\) : เรียก Backward Slash หรือ Backslash
11. เครื่องหมาย & : Ampersand
12 เครื่องหมาย @ : At Sign
13 เครื่องหมายดอกจัน * : Asterisk (อ่านว่า ‘as-tu,risk)
14. เครื่องหมาย : Bullet (อ่านว่า bu-lit)
15. เครื่องหมาย ‘ : Apostrophe (อ่านว่า u’pos-tru-fee)
16. เครื่องหมาย ! : Exclamation mark
17. เครื่องหมาย ? : Question mark
18. เครื่องหมายเว้นวรรค : Space
19. เครื่องหมาย : Tilde (อ่านว่า ทิลเดอ)
20. เครื่องหมาย _ : Underscore
21. เครื่องหมาย : Therefore sign
22. เครื่องหมาย : Because sign
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น