ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

โปรตีน


 















 
บทนำ
โปรตีนเป็นอาหารหมู่สำคัญ กรดอะ มิโนก็เป็นหน่วยย่อยของโปรตีน การได้ กรดอะ มิโนที่เหมาะสมครบถ้วน มีความสำคัญต่อสุขภาพ มากกว่าการได้รับโปรตีนปริมาณมากๆเสียอีก หากเราขาด กรดอะ มิโนตัวใดตัวหนึ่ง ก็เหมือนกับว่า เราขาดส่วนผสมในการทำปูนซีเมนต์ให้แข็งตัว หรือหากแข็งตัวได้ ก็จะกลายเป็นปูนที่ไม่แข็งแรง ผมยกตัวอย่างเช่น ในข้าวโพดจะขาด กรดอะ มิโนตัวหนึ่ง คือทริป โตแฟน หากเราขาดตัวนี้ ก็จะส่งผลต่อการทำงานของสมอง ดังนั้นเราจะต้องทานอาหารชนิดอื่นที่ มีอะ มิโนตัวนี้เข้าไป สมองก็จะ ได้ทริป โตแฟนไปใช้นั่นเอง ประโยชน์ของโปรตีนคือ คลายเครียด ลดความดันเลือดสูง รักษาอาการเสื่อมก่อนวัย รักษาโรคจากเชื้อ ไวรัส เช่น เริม กระทั่งแก้อาการนอนไม่หลับ สำหรับผิวพรรณนั้น กรดอะ มิโนจะช่วยทำให้ผิวพรรณดี เต่งตึงขึ้น นอกจากนี้ อะ มิโนยัง ช่วยน การย่อย และทำให้ภูมิต้านทานโรคดีขึ้นด้วย ประเมินผล


ภาระงาน

1. ให้นักเรียนสืบค้นเกี่ยวความรู้เกี่ยวกับ กรดอะ มิโนว่ามีกี่ชนิด อะไรบ้าง มีความสำคัญอย่างไร
2. ให้นักเรียนสืบค้น ความรู้เกี่ยวกับโปรตีน บอกประโยชน์และแหล่งสำคัญที่ค้นพบ
3. ให้นักเรียนสืบค้นและออกแบบวิธีการทดสอบสารอาหารโปรตีน และทำรายงานการทดลองนำเสนอเป็น power poit แล้วนำไปลงใน slide share ประเมินผล


กระบวนการ

1. นักเรียนศึกษา เรื่อง กรดอะ มิโน ที่ http://www.tuvayanon.net/2protienf.html
2. ศึกษาการทดสอบโปรตีนใน เว็บไซด์ http://web.wattana.ac.th/E_learning 47/ high_ 01/ foods/p 03. html ประเมินผล


แหล่งข้อมูล

http://www.tuvayanon.net/2protienf.html http://web.wattana.ac.th/E_learning 47/ high_ 01/ foods/p 03. html

ประเมินผล

รายการประเมิน คำอธิบายคุณภาพ
เหรียญทอง(3) เหรียญเงิน(2) เหรียญทองแดง(1)
1. เนื้อหา ถูกต้อง มีประเด็นหลัก มีประเด็นย่อย ถูกต้อง มีประเด็นหลัก ไม่สอดคล้องกัน ขาดประเด็นหลัก และประเด็นย่อย
2. ความสวยงาม มีการออกแบบได้พอดี มีสีรรที่เหมาะสม ออกแบบไม่เหมาะสม สีไม่สอดคล้อง ไม่มีการออกแบบที่ดี ไม่สวยงาม สีที่ใช้ไม่เหมะสม
3. การนำเสนอ นำเสนอได้คล่องแคล่ว ชัดเจน นำเสนอได้ไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา นำเสนอไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับเนื้อหา พูดไม่ถูกวิธี


สรุป

โปรตีนประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบหลัก นอกจากนี้อาจจะมีธาตุอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย เช่น กำมะถัน ฟอสฟอรัส เหล็ก สังกะสี และทองแดง พบในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว และงา ก ารทดสอบโปรตีน ปฏิกิริยาไบยูเรต ( Biuret reaction) การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วย ปฏิกิริยา ไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO 4 ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง โดยปฏิกิริยา CuSO 4 ในสารละลายเบสจะทำปฏิกิริยากับองค์ประกอบย่อยของโปรตีนคือ กรดอะ มิโน ได้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง Cu 2+ กับไนโตรเจนในสารที่มีพันธะ เพปไทด์ ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป ประเมินผล

ผู้จัดทำ

ผู้จัดทำ นายสันติ จั่นผ่อง ปริญญาโทวิทยาศาสตร์ศึกษา (ภาคพิเศษ) รหัส 5314650215

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Brainstorming >>> ระดมสมอง

   ก ารระดมสมอง (Brainstorming) การระดมสมองเป็นเทคนิคที่สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา โดยไม่มีการประเมินว่าความคิดเห็นของใครว่าดีหรือไม่ดี ความคิดเห็นของทุกคนจะถูกรวบรวม และนำเสนอให้สมาชิกทุกคนได้ทราบ พร้อมทั้งสนับสนุนให้สมาชิกเสนอความคิดเห็นต่อเติมหรือเสริมของกันและกันได้ การระดมสมองถือว่าเป็นวิธีแรกที่เป็นเครื่องมือที่ลดการขัดขวาง และสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก โดยการไม่มีการประเมินความคิดเห็นที่แสดงของ สมาชิก ลดการมีอิทธิพลของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง โดยการมีวิธีสนับสนุนให้สมาชิกทุกคนได้มี โอกาสตอบให้ความคิดเห็นของสมาชิกคนอื่นอย่างสั้น ๆ นอกจากนั้นยังส่งเสริมการสร้างสรรค์ความคิดเห็นและบรรยากาศของการยอมรับสำหรับความคิดเห็นทุกชนิด การระดมสมองเป็น ส่วนหนึ่งที่จะสร้างความสำเร็จได้ ในการที่จะปรับปรุงการแสดงความคิดเห็น โดยการเปรียบเทียบกับการแก้ปัญหาโดยกลุ่ม ในลักษณะธรรมดาทั่ว ๆ ไป อย่างไร

การสนทนากลุ่ม (Focus group)

การสนทนากลุ่ม   ( Focus Group)   ความเป็นมา   การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ได้มีการพัฒนาขึ้นครั้งแรกระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) โดยนำมาใช้ในการประเมินประสิทธิผลของรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศในช่วงนั้น พอสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1946 ได้มีการนำมาใช้ในกลุ่มที่ทำงานทางด้านสังคมศาสตร์ (Social Sciences) มีลักษณะเป็นการสนทนาถกแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่มีการกำหนดหัวข้อเฉพาะบางประเด็นของผู้จัด (Organizer) โดยกลุ่มคนที่เข้าร่วมประมาณ 8-10 คน ซึ่งเรียกว่า เป็น Participants หรือ Respondents โดย ผู้ที่จะเข้าร่วมการทำ Focus group จะได้รับการคัดเลือก (Screen) ตามเงื่อนไขมาอย่างดี (กรมการพัฒนาชุมชน, ม.ป.ป. เว็บไซต์) ความหมายของการสนทนากลุ่ม   สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สำนักงาน สกว.] (2551. เว็บไซต์) ได้ให้ความหมายของการสนทนากลุ่มไว้ว่า การสนทนากลุ่ม หมายถึงการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือ

ภาวะผู้นำทางวิชาการ

ทฤษฎีภาวะผู้นำทางวิชาการ (Instructional Leadership)   วีรพงษ์ ไชยหงษ์                ภาวะผู้นำทางวิชาการ “Instructional Leadership” ได้กลายเป็นแนวคิดที่ได้รับความนิยมท่ามกลางหมู่นักการศึกษาในฐานะเป็นผู้สร้างผลผลิตทางการศึกษา ซึ่งจะเริ่มเห็นได้จากงานวิจัยประสิทธิผลของโรงเรียนมีมากขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 และต้นปี ค.ศ. 1980 (Howley, 1989) ดังที่สอดคล้องกับงานวิจัยนั้น “ภาวะผู้นำทางวิชาการ” เป็นหนึ่งในเงื่อนไขของปัจจัยที่ช่วยส่งเสริมให้การปฏิบัติของโรงเรียนมีความคาดหวังสูงต่อผลสำเร็จที่จะเกิดขึ้น (Larson and others, 2006) ซึ่งมีความเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการเรียนรู้ของนักเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ (Hopkins, 2001 : 16) และพบว่าองค์ประกอบความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์และเป็นตัวทำนายความมีประสิทธิผลของโรงเรียน (Buzzi, 1991) ความหมายของภาวะผู้นำ                ภาวะผู้นำ (Leadership) เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวขององค์การ เพราะมีผลกระทบต่อบุคคลและทรัพยากร ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ผู้นำที่มีการแสดง ออกซึ่งภาวะผู้นำจะส