ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กล้อง DSLR

DSLR คืออะไร


เรื่อง/ภาพ โดย Klongdigital.com วันที่ 07 ก.ค. 2555 เวลา 12:33 น. อ่านไป 3,724 ครั้ง

DSLR คือ

DSLR มาจากคำว่า digital single lens reflex
เป็นกล้องสะท้อนภาพเลนส์เดี่ยวด้วยระบบดิจิตอล มีลักษณะเหมือนกล้องที่ใช้ฟิล์ม เพียงแต่ใช้เซ็นเซอร์ในการรับภาพแทนฟิล์ม
กล้อง D-SLR มักนำตัวกล้องที่ใช้ฟิล์มแบบ 35mm. SLR มาดัดแปลงให้เป็นกล้องดิจิตอล โดยเปลี่ยนฝาหลัง และแทนที่ฟิล์มด้วยเซ็นเซอร์รับภาพ ซึ่งมีส่วนประกอบดังนี้
เซ็นเซอร์รับภาพ หรือเรียกว่า Image Sensor ใช้ในการรับสัญญาณภาพ แล้วแปลงเป็นสัญญาณดิจิทัล
กล้อง DSLR เป็นกล้องระดับมืออาชีพที่นิยมใช้กัน คนที่ใช้ควรมีความรู้ในด้านการใช้กล้องดิจิตอลอยู่บ้าง จุดสำคัญสามารถเปลี่ยนเลนส์ได้ และใช้การมองผ่านเลนส์โดยตรงผ่านช่องมองภาพ ทั้งนี้โดยอาศัยการหักเหของแสง

กล้อง DSLR มีสองประเภท

1. เป็นกล้องแบบตัวคูณทางยาวโฟกัส เป็นกล้องดิจิตอลที่มีเซนเซอร์เล็กกว่าฟิล์ม เมื่อเทียบกับฟิล์มทำให้ระยะต่างๆเมื่อเที่ยบฟิล์มมีระยะที่น้อยกว่า เช่นช่วงซูม 18 – 55 จะอยู่ในช่วงระยะฟิล์มคือ 28.8 – 88 มม. คูณด้วย 1.6 เท่า ( คูณกี่เท่านั้นขึ้นอยู่กับขนาดเซนเซอร์ของกล้องดิจิตอนที่ใช้ )

เซนเซอร์ตัวคูณ มีเซนเซอร์อยู่หลายขนาด แต่ละขนาดการตกกระทบของแสงก็มีการคูณที่ต่างกัน


เซนเซอร์ แต่ละขนาด

Pentax ได้ออกผลิตกล้องที่มีขนาด 1/2.3 (6.17 x 4.55 mm) ซึ่ง คูณด้วย 5.53 เท่าของความยาวโฟกัสเลนส์ คือ Pentax Q ซึ่งกล้องดิจิตอลตัวถัดๆมาก็ได้เปลี่ยนมาใช้ ขนาด APS-C แทนเพื่อต่อสู้กับขนาดเซนเซอร์ของคู่แข่ง

Pentax Q

เซนเซอร์ของกล้อง Nikon 1 คูณด้วย 2.7 เท่าของความยาวโฟกัสเลนส์ มีเซนเซอร์ขนาดประมาณ 13.2 x 8.8 mm

Nikon V1

Micro Four Thirds คูณด้วย 2 เท่าของความยาวโฟกัสเลนส์ มีเซนเซอร์ขนาดประมาณ 17.3 x 13 mm ( Panasonic , Oly )

APS-C ขนาดเซนเซอร์ประมาณ 22x15 มิลลิเมตร เป็นเซนเซอร์ที่มีขนาดเล็กสุด บางยี่ห้อคูณด้วย 1.6 ( canon ,Nikon ) , 1.5 ( sony ) เท่าของความยาวโฟกัสเลนส์


APS-H ขนาดเซนเซอร์ประมาณ 29x19 มิลลิเมตร คูณด้วย 1.3 เท่าของความยาวโฟกัสเลนส์ เซนเซอร์เป็นกล้อง DSLR ระดับสูง เน้นความเร็ว ซูมไกล แต่คุณภาพดีกว่า APS-C ขึ้นมาหน่อย
แต่ความสามารถในการออกแบบ ในการถ่ายภาพต่อเนื่อง และความเร็วในการโฟกัสที่ดีขึ้น ทำให้กล้องรุ่นสูงๆ เปลี่ยนมาใช้ ระบบ Full Frame กันมากขึ้น


APS-H

2. แบบ Full Frame ( เซนเซอร์ขนาดเทียบเท่ากับฟิล์ม )

เซนเซอร์ขนาดประมาณ 36x24 มิลลิเมตร เป็นกล้องที่ใช้ระดับมืออาชีพ เพราะสามารถเก็บรายละเอียดของของแสงได้ดี (ไดนามิกเรนจ์ (Dynamic Rage)) ให้รายละเอียดของสีได้สูงกว่า ด้วยตัวรับแสงที่มีขนาดใหญ่ ทำให้สัญญาณรบกวน (NOISE) เกิดขึ้นได้น้อย มักใช้กับงานที่เน้นคุณภาพ มีราคาที่สูง และเลนส์ที่ใช้ไม่สามารถใช้ได้กับเลนส์บางชนิดได้ ช่างภาพมืออาชีพมักนิยมใช้กล้องแบบ Full Frame กัน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

การสนทนากลุ่ม (Focus group)

การสนทนากลุ่ม   ( Focus Group)   ความเป็นมา   การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ได้มีการพัฒนาขึ้นครั้งแรกระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) โดยนำมาใช้ในการประเมินประสิทธิผลของรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศในช่วงนั้น พอสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1946 ได้มีการนำมาใช้ในกลุ่มที่ทำงานทางด้านสังคมศาสตร์ (Social Sciences) มีลักษณะเป็นการสนทนาถกแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาที่มีการกำหนดหัวข้อเฉพาะบางประเด็นของผู้จัด (Organizer) โดยกลุ่มคนที่เข้าร่วมประมาณ 8-10 คน ซึ่งเรียกว่า เป็น Participants หรือ Respondents โดย ผู้ที่จะเข้าร่วมการทำ Focus group จะได้รับการคัดเลือก (Screen) ตามเงื่อนไขมาอย่างดี (กรมการพัฒนาชุมชน, ม.ป.ป. เว็บไซต์) ความหมายของการสนทนากลุ่ม   สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย [สำนักงาน สกว.] (2551. เว็บไซต์) ได้ให้ความหมายของการสนทนากลุ่มไว้ว่า การสนทนากลุ่ม หมายถึงการรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือ

Brainstorming >>> ระดมสมอง

   ก ารระดมสมอง (Brainstorming) การระดมสมองเป็นเทคนิคที่สนับสนุนให้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหา โดยไม่มีการประเมินว่าความคิดเห็นของใครว่าดีหรือไม่ดี ความคิดเห็นของทุกคนจะถูกรวบรวม และนำเสนอให้สมาชิกทุกคนได้ทราบ พร้อมทั้งสนับสนุนให้สมาชิกเสนอความคิดเห็นต่อเติมหรือเสริมของกันและกันได้ การระดมสมองถือว่าเป็นวิธีแรกที่เป็นเครื่องมือที่ลดการขัดขวาง และสนับสนุนการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก โดยการไม่มีการประเมินความคิดเห็นที่แสดงของ สมาชิก ลดการมีอิทธิพลของสมาชิกคนใดคนหนึ่ง โดยการมีวิธีสนับสนุนให้สมาชิกทุกคนได้มี โอกาสตอบให้ความคิดเห็นของสมาชิกคนอื่นอย่างสั้น ๆ นอกจากนั้นยังส่งเสริมการสร้างสรรค์ความคิดเห็นและบรรยากาศของการยอมรับสำหรับความคิดเห็นทุกชนิด การระดมสมองเป็น ส่วนหนึ่งที่จะสร้างความสำเร็จได้ ในการที่จะปรับปรุงการแสดงความคิดเห็น โดยการเปรียบเทียบกับการแก้ปัญหาโดยกลุ่ม ในลักษณะธรรมดาทั่ว ๆ ไป อย่างไร

อัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐาน....ในปัจจุบัน

มาเปรียบเทียบอัตราส่วนการแสดงผลของจอภาพมาตรฐานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจอโทรทัศน์ จอคอมพิวเตอร์ ไปจนถึงการแสดงผลแบบ HDTV ( High Definition Television ) ซึ่งการแสดงผลของภาพในปัจจุบันกำลังพัฒนาไปสู่การแสดงผลของภาพที่ให้ความคมชัดสูงมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อที่จะทำให้การแสดงผลของจอภาพรองรับมาตรฐานแบบ Full HD จากรูป..เป็นการเปรียบเทียบการแสดงผล สำหรับจอภาพ ตามมาตรฐานต่างๆ ที่เรารู้จัก... - Full HD (High Definition) 1920 x 1080 - HD (High Definition) 1280x720 - PC XGA (Extended Graphics Array) 1024x768 - SD (Standard Definition) PAL TV 768x576 - SD (Standard Definition) NTSC TV 720x480 - CIF (Common Intermediate Format) 352x288 - QCIF (Quarter Common Intermediate Format) 176x144        ซึ่งแต่ละระบบ มีความแตกต่างกันของขนาดภาพ มันเกี่ยวข้องกับการบันทึกภาพวิดีโอ หรือการนำไปตัดต่อภาพวิดีโอด้วย เช่น การส่งภาพข่าวของผู้สื่อข่าว บมจ.อสมท ในขณะนี้ใช้ขนาด 720x576 และกล้องวิดีโอที่ส่งมาให้ใช้งานตามภูมิภาค ปรับมาตรฐานของภาพที่บันทึกเป็น 720x576 นั่นเอง ซึ่งอยู่ในระบบ